ปกติแล้วออฟฟิศของใครหลายคนมักต้องมีการวางแผนเพื่อสร้างผลกำไรให้เติบโตในปีถัดไป แล้วทำไมเราไม่ลองนำแนวคิดดังกล่าวมาประยุกต์ใช้กับเป้าหมายในชีวิตบ้าง บางทีเราอาจจะได้เส้นทางและการวัดผลที่มีเป้าชัดเจนกว่าที่ทำอยู่ก็ได้

บทความนี้จะชวนผู้อ่านทุกคนไปสำรวจ 7 เหตุผลที่น่าสนใจว่าเหตุใดเราจึงเรียนรู้เพื่อความอยู่รอดในภาวะที่ไม่มั่นคง ไม่แน่นอน ซึ่งการเรียนรู้จะทำให้เราอยู่รอดจากภาวะตรงนี้ได้

เชื่อว่าหลายคนน่าจะเคยได้ยินทฤษฏี 10,000 ชั่วโมงมาก่อนแล้ว แนวคิดนี้มาจากไหน แล้วมีบุคคลหรือกลุ่มคนใดในโลกเข้าข่ายนี้บ้าง ลองมาติดตามกันครับ

บุคคลิกของ Servant Leadership เป็นอย่างไร เราอาจสังเกตได้จากการประชุมในวาระต่างๆ ถ้าเราเจอข้อสังเกตเหล่านี้ในตัวหัวหน้าของเรา นี่อาจเป็นสัญญาไ้ด้ว่า เรากำลังเจอผู้นำที่เหมาะสมแล้วในการทำงาน

โลกการทำงานได้เปลี่ยนไปแล้วตั้งแต่เราเข้าสู่ยุคไวรัสโควิด-19 ไม่มีอะไรแน่นอนอีกต่อไป แต่สิ่งหนึ่งที่คนทำงานประจำและคนทำงานฟรีแลนซ์จำเป็นต้องมีเหมือนกันคือเงื่อนไขต่อไปนี้

เคยไหมที่ก่อนเรียนจบเรามักจะสับสนกับอนาคตการทำงาน คำถามคือเราควรทำอย่างไรกับชีวิตในช่วงเวลานั้น และการทำงานช่วงอายุ 20 30 40 เราควรมองการทำงานอย่างไร เรามีคำแนะนำจาก Jack Ma ผู้บริหารอาลีบาบามาฝากกันด้วย

เรื่องราวของ คริส โฮล์ม อดีตเจ้าหน้าที่สนามบินที่ตัดสินใจลาออกมาทำตามความฝันด้วยการเปิดร้านเค้กที่ตนเองชื่นชอบ ซึ่งเราเชื่อว่าบทความนี้จะเติมความสุขและกระตุ้นให้ทุกคนทบทวนเป้าหมายที่วางไว้ในชีวิตได้อย่างดี

ถ้าคุณมีเงินอยู่ 5 ดอลลาร์ คุณคิดว่าจะสามารถสร้างผลตอบแทนให้เติบโตขึ้นได้สูงที่สุดเท่าไหร่ และด้วยวิธีอะไร บทความนี้เรามีกรณีศึกษาที่น่าสนใจ จากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดมาให้คิดตามกันด้วยครับ

ค่าของคนอยู่ที่ผลของงานจริงหรือไม่ ผมมีโอกาสได้ไปพูดคุยใน Podcast รายการ R U OK กับชุดคำถามที่น่าสนใจ และคิดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านด้วยเช่นกัน

เราทำงานไม่เก่ง เป็นเพราะเราหรือเป็นเพราะงาน คำถามนี้ชวนให้เราต้องคิดและพิจารณาดีๆ อย่าเพิ่งหลงโทษตัวเองไปอย่างเดียว หรือแม้แต่โทษงานด้วยเช่นกัน เพราะบางทีคำตอบอาจเป็นได้ทั้งสองแง่ แต่อยู่ที่ว่าเราจะหาเครื่องมือมาสำรวจเพื่อแก้ไขได้อย่างไร